งานประกันคุณภาพการศึกษา

คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี

" คณะวิทยาการจัดการเป็นแหล่งเรียนรู้ด้านบริหารจัดการและพัฒนาทักษะตามมาตรฐานวิชาชีพ "


คณะกรรมการประกันคุณภาพ คณะวิทยาการจัดการ


ภารกิจหลักที่สถาบันอุดมศึกษาจะต้องปฏิบัติมี๔ ประการ คือ การผลิตบัณฑิต การวิจัย การให้บริการทางวิชาการแก่สังคมและการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม การดำเนินการตามภารกิจ ทั้ง ๔ ประการดังกล่าว มีความสำคัญอย่างยิ่งต่อการพัฒนาประเทศทั้งระยะสั้นและระยะยาว ปัจจุบันมีปัจจัยภายในและภายนอกหลายประการที่ทำให้การประกันคุณภาพการศึกษาในระดับอุดมศึกษาเป็นสิ่งจำเป็นที่จะต้องเร่งดำเนินการ

อ้างอิง : คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายในระดับอุดมศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๗

เอกสารแนบ : คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการประกันคุณภาพการศึกษา คณะวิทยาการจัดการ




คำสั่ง คณะวิทยาการจัดการ
ที่ ๒๖๓ / ๒๕๖๑
เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน
ประจำปีการศึกษา ๒๕๖๑
---------------------------------

เพื่อให้การดำเนินการประกันคุณภาพการศึกษาภายในของคณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราภชัฏรำไพพรรณี ดำเนินไปด้วยความเรียบร้อยและสอดคล้องกับเกณฑ์มาตรฐานสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาได้ยอ่างมีประสิทธิภาพ

อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๒๗ และ ๓๑ (๑), (๒) แห่งพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัย ราชภัฏ พ.ศ. ๒๕๔๗ ประกอบกับคำสั่งมหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี ที่ ๑๘๖๖/๒๕๖๐ เรื่อง มอบอำนาจให้ รองอธิการบดี ผู้ช่วยอธิการบดี คณบดี ผู้อำนวยการสถาบัน ผู้อำนวยการสำนัก ปฏิบัติราชการแทนอธิการบดี ลงวันที่ ๑๑ ตุลาคม ๒๕๖๐ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี จึงแต่งตั้งคณะกรรมการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจำปีการศึกษา ๒๕๖๑ ดังนี้

๑. คณบดีคณะวิทยาการจัดการ ประธานกรรมการ
๒. รองคณบดีฝ่ายบริหาร รองประธานกรรมการ
๓. รองคณบดีฝ่ายวิชาการ กรรมการ
๔. รองคณบดีฝ่ายกิจการนักศึกษา กรรมการ
๕. ประธานหลักสูตรบัญชีบัณฑิต กรรมการ
๖. ประธานหลักสูตรบริหารธุรกิจ สาขาวิชาการบริหารทรัพยากรมนุษย์ กรรมการ
๗. ประธานหลักสูตรบริหารธุรกิจ สาขาวิชาการตลาด กรรมการ
๘. ประธานหลักสูตรบริหารธุรกิจ สาขาวิชาการเงินการธนาคาร กรรมการ
๙. ประธานหลักสูตรบริหารธุรกิจ สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ กรรมการ
๑๐. ประธานหลักสูตรบริหารธุรกิจ สาขาวิชาการจัดการ กรรมการ
๑๑. ประธานหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการท่องเที่ยว กรรมการ
๑๒. ประธานหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ธุรกิจ กรรมการ
๑๓. ผู้ช่วยศาสตราจารย์วาสนา สุมนาวดี กรรมการ
๑๔. ผู้ช่วยศาสตราจารย์พิศิษฐ์ ชัยสุวรรณถาวร กรรมการ
๑๕. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ยุทธนา พรรคอนันต์ กรรมการ
๑๖. อาจารย์ศิริลักษณ์ เทียนมณี กรรมการ
๑๗. ผู้ช่วยศาสตราจารย์บุษรา บรรจงการ กรรมการ
๑๘. อาจารย์ ดร.รมิดา กาญจนวงศ์ กรรมการ
๑๙. อาจารย์เปรมปรีดา ทองลา กรรมการ
๒๐. อาจารย์อนุพล สิงขรเขตต์ กรรมการ
๒๑. นายมนตรี สังขนาด กรรมการและเลขานุการ
๒๒. นางกนกพร เชิญกลาง กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ
๒๓. นางาวจารุวัฒน์ สอนมนต์ กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ
๒๔. นางสาวดวงนภา ประดิษฐศิลป์ กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ
๒๕. นางฉวีวรรณ บัณฑิตสุนทร กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ
๒๖. นายสิทธิพงษ์ พิมพ์ธารา กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ
๒๗. ว่าที่เรือตรี กัมพล มีมาก กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ


โดยมีหน้าที่ดังนี้ :
๑. วางแผนกำกับติดตาม ประเมินและปรับปรุงผลการดำเนินงานของกระบวนการการดำเนินการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระัดบคณะ ให้เป้นไปตามองค์ประกอบการประกันคุณภาพการศึกษา ปีการศึกษา ๒๕๖๑ (๑ สิงหาคม ๒๕๖๑-๓๑ กรกฎาคม ๒๕๖๒)
๒. พัฒนาระบบกลำกการดำเนินการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับคณะ ให้เป็นไปตามองค์ประกอบการประกันคุณภาพการศึกษา ปีการศึกษา ๒๕๖๑ (๑ สิงหาคม ๒๕๖๑-๓๑ กรกฎาคม ๒๕๖๒)

ทั้งนี้ ให้ผู้ได้รับการแต่งตั้งปฏิบัติหน้าที่ตามที่ได้รับมอบหมายให้ดำเนินไปด้วยความเรียบร้อยบังเกิดผลดีต่อคณะและมหาวิทยาลัย


สั่ง ณ วันที่ ๒๓ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๖๑

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กัลยรัตย์ เจียมโฆสิต

คณบดีคณะวิทยาการจัดการ ปฏิบัติราชการแทน
อธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี



การประกันคุณภาพ (QA) คณะวิทยาการจัดการ


หลักสูตรที่มุ่งผลิตบัณฑิตที่มีความรู้ความสามารถในด้านการบริหารธุรกิจออกไปสนองความต้องการของตลาดแรงงาน และเพื่อเป็นผู้ประกอบการด้วยตนเอง เพื่อเปิดโอกาสในการเรียนรู้และเสริมสร้างศักยภาพให้แก่นักศึกษา ผู้ประสงค์จะพัฒนาตนเองให้มีทักษะเฉพาะในกลุ่มวิชาที่ถนัดหรือมีความสนใจ ในหลักสูตรที่ได้มาตรฐานการศึกษา ตามมาตรฐานอุดมศึกษาแห่งชาติและระดับสากล

อ้างอิง : คะแนนประกันคุณภาพการศึกษา 2563





คะแนนตามตัวบ่งชี้ รอบการประเมิน 2564

องค์ประกอบที่ 1   การผลิตบัณฑิต
  • ตัวบ่งชี้ที่ 1.1   ผลการบริหารจัดการหลักสูตรโดยรวม
  • ตัวบ่งชี้ที่ 1.2   อาจารย์ประจำคณะที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก
  • ตัวบ่งชี้ที่ 1.3   อาจารย์ประจำคณะที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ
  • ตัวบ่งชี้ที่ 1.4   การบริการนักศึกษาระดับปริญญาตรี
  • ตัวบ่งชี้ที่ 1.5   กิจกรรมนักศึกษาระดับปริญญาตรี
  • ตัวบ่งชี้ที่ 1.6   การส่งเสริมสมรรถนะและทักษะการใช้ภาษาอังกฤษ
  • ตัวบ่งชี้ที่ 1.7   การส่งเสริมสมรรถนะและทักษะด้านดิจิทัล
  • ตัวบ่งชี้ที่ 1.8   ร้อยละของหลักสูตรที่นักศึกษามีส่วนร่วมในการสร้างสรรค์นวัตกรรม
องค์ประกอบที่ 2   การวิจัย
  • ตัวบ่งชี้ที่ 2.1   ระบบและกลไกงานวิจัย งานสร้างสรรค์ หรือนวัตกรรม
  • ตัวบ่งชี้ที่ 2.2   เงินสนับสนุนงานวิจัยและงานสร้างสรรค์
  • ตัวบ่งชี้ที่ 2.3   ผลงานทางวิชาการของอาจารย์ประจำและนักวิจัย
  • ตัวบ่งชี้ที่ 2.4   งานวิจัย งานสร้างสรรค์ หรือนวัตกรรมที่นำไปใช้ประโยชน์ต่อชุมชน
องค์ประกอบที่ 3   การบริการวิชาการ
  • ตัวบ่งชี้ที่ 3.1   ระบบและกลไกการบริการวิชาการเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น ชุมชน สังคม
  • ตัวบ่งชี้ที่ 3.2   จำนวนชุมชนเป้าหมายที่ได้รับการพัฒนาอย่างต่อเนื่องตามแผน เสริมสร้างความสัมพันธ์กับชุมชน
องค์ประกอบที่ 4   ด้านศิลปวัฒนธรรมและความเป็นไทย
  • ตัวบ่งชี้ที่ 4.1   ระบบและกลไกการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม
องค์ประกอบที่ 5   การบริหารจัดการ
  • ตัวบ่งชี้ที่ 5.1  การจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการกับการทำงาน
  • ตัวบ่งชี้ที่ 5.2  การบริหารของคณะเพื่อการกำกับติดตามผลลัพธ์ตามพันธกิจ กลุ่มสถาบันและเอกลักษณ์ของคณะ
  • ตัวบ่งชี้ที่ 5.3  ระบบกำกับการประกันคุณภาพหลักสูตร


SAR 2564 CAR 2564

คะแนนประกันคุณภาพระดับหลักสูตร


ผลการดำเนินงาน
ในปีการศึกษา 2564 คณะวิทยาการจัดการ เปิดสอนระดับปริญญาตรีทั้งหมด 8 หลักสูตร โดยมีผลรวมของค่าคะแนนประเมินของทุกหลักสูตรเท่ากับ 4.90 ดังนี้

เป้าหมาย ผลการดำเนินงาน คะแนนการประเมินตนเอง
3.91 บรรลุเป้าหมาย 3.94 / ผ่านมาตรฐาน/ไม่ผ่านมาตรฐาน
เอกสารหลักฐาน


หลักสูตร ผลการประเมิน
บริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการตลาด 3.94 / ผ่านมาตรฐาน
บริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการทรัพยากรมนุษย์ 4.17 / ผ่านมาตรฐาน
บริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชานวัตกรรมการเงินและการลงทุน 3.69 / ผ่านมาตรฐาน
บริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการ 3.88 / ผ่านมาตรฐาน
บริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ 3.94 / ผ่านมาตรฐาน
หลักสูตรเศรษฐศาสตรบัณฑิต 3.71 / ผ่านมาตรฐาน
ศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการท่องเที่ยว และนวัตกรรมการบริการ 4.02 / ผ่านมาตรฐาน
หลักสูตรบัญชีบัณฑิต 4.15 / ผ่านมาตรฐาน
ผลการประเมินโดยรวม - คะแนนเฉลี่ย 8 หลักสูตร
= 3.94/ ผ่านมาตรฐานทุกหลักสูตร

การจัดการความรู้ (KM) คณะวิทยาการจัดการ


อ้างอิง : เอกสารคำอธิบายรายละเอียดหลักสูตร (มคอ.2)


แผนปฏิบัติราชการ คณะวิทยาการจัดการ


RBRU Action Plan 2019

แผนปฏิบัติราชการ (Action Plan) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี
:-: ดาวน์โหลด :-:

  • มติเห็นชอบในการประชุมสภามหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี ครั้งที่ 11/2561 วันจันทร์ที่ 3 ธันวาคม 2561
  • มติเห็นชอบในการประชุมคณะกรรมการบริหารมหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี ครั้งที่ 19/2561 วันพฤหัสบดีที่ 22 พฤศจิกายน 2561
  • อ้างอิง : จัดทำโดย กองนโยบายและแผน สำนักงานอธิการบดี มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี


    โครงการงบประมาณ

    แผนยุทธศาสตร์คณะวิทยาการจัดการ

    กราฟแสดงปริมาณนักศึกษา คณะวิทยาการจัดการ


    คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี มีหลักสูตรตามมาตรฐานการศึกษาที่เปิดสอน 4 หลักสูตร รวม 8 สาขาวิชา โดยแบ่งเป็น นักศึกษาภาคปกติ และนักศึกษาภาคพิเศษ ซึ่งมีจำนวนนักศึกษาโดยรวม เป็นอันดับ 1 ในมหาวิทยาลัย

    อ้างอิง : เอกสารคำอธิบายรายละเอียดหลักสูตร (มคอ.2)



    กราฟ : แสดงอัตราการคงอยู่ของ นศ. ต่อปี


    รายละเอียด

    รายละเอียด

    จำนวนนักศึกษา FMS RBRU

    1,326

    - คน -

    [ Up date : ณ วันที่ 1 กรกฏาคม 2564 ]

    ข้อมูลจำนวนนักศึกษาคณะวิทยาการจัดการ

    Up date : ณ วันที่ 1 กรกฏาคม 2564

    สาขาวิชา 2563 2564
    การจัดการ 326 298
    การตลาด 173 164
    บัญชีบัณฑิต 330 322
    การเงินการธนาคาร 97 89
    เศรษฐศาสตร์ 47 44
    การบริหารทรัพยากรมนุษย์ 82 78
    การท่องเที่ยว 232 210
    คอมพิวเตอร์ธุรกิจ 137 121
    Name Stars Forks Description