งานประกันคุณภาพการศึกษา

คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี

" คณะวิทยาการจัดการเป็นแหล่งเรียนรู้ด้านบริหารจัดการและพัฒนาทักษะตามมาตรฐานวิชาชีพ "

คะแนนประเมินคุณภาพการศึกษา ระดับหลักสูตร ประจำปี 2564


ภารกิจหลักที่สถาบันอุดมศึกษาจะต้องปฏิบัติมี ๔ ประการ คือ การผลิตบัณฑิต การวิจัย การให้บริการทางวิชาการแก่สังคมและการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม การดำเนินการตามภารกิจ ทั้ง ๔ ประการดังกล่าว มีความสำคัญอย่างยิ่งต่อการพัฒนาประเทศทั้งระยะสั้นและระยะยาว ปัจจุบันมีปัจจัยภายในและภายนอกหลายประการที่ทำให้การประกันคุณภาพการศึกษาในระดับอุดมศึกษาเป็นสิ่งจำเป็นที่จะต้องเร่งดำเนินการ

อ้างอิง : คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายในระดับอุดมศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๗

SAR : : Self Assessment Report



หลักสูตร ผลการประเมิน
บริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการตลาด 3.94 / ดี
บริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารทรัพยากรมนุษย์ 4.17 / ดีมาก
บริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชานวัตกรรมการเงินและการลงทุน 3.69 / ดี
บริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการ 3.88 / ดี
บริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ 3.94 / ดี
หลักสูตรเศรษฐศาสตร์ 3.71 / ดี
ศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการท่องเที่ยวและนวัตกรรมการบริการ 4.02 / ดีมาก
หลักสูตรบัญชีบัณฑิต 4.15 / ดีมาก
ผลการประเมินหลักสูตรโดยรวม (8 หลักสูตร) 3.94/ ดี
เป้าหมาย ผลการดำเนินงาน คะแนนการประเมินตนเอง
3.75 บรรลุเป้าหมาย 3.94 / ดี
เอกสารหลักฐาน

ตัวบ่งชี้ที่ 1.2 : อาจารย์ประจำคณะที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก


ผลการดำเนินงาน
ในปีการศึกษา 2562 คณะวิทยาการจัดการ มีอาจารย์ประจำที่มีคุณวุฒิปริญญาเอกเท่ากับ 5 ท่าน และผลรวมของจำนวนอาจารย์ประจำทั้งหมดเท่ากับ 41.5 ท่าน ดังนี้

เป้าหมาย ผลการดำเนินงาน คะแนนการประเมินตนเอง
1.50 บรรลุเป้าหมาย 1.50 / ผ่านมาตรฐาน

รายชื่ออาจารย์ประจำที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก จำนวน อ.คุณวุฒิปริญญาเอก จำนวนอาจารย์ทั้งหมด
1. ดร.กัลยรัตน์ เจียมโฆสิต
2. ดร.นภดล แสงแข
3. ดร.นิศารัตน์ แสงแข
4. ดร.รมิดา กาญจนะวงศ์
5. ดร.ปัญญณัฐ ศิลาลาย
5 41.5
เอกสารหลักฐาน

ตัวบ่งชี้ที่ 1.3 : อาจารย์ประจำคณะที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก


ผลการดำเนินงาน
ในปีการศึกษา 2562 คณะวิทยาการจัดการ มีอาจารย์ประจำที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการเท่ากับ 24 ท่าน และผลรวมของจำนวนอาจารย์ประจำทั้งหมดเท่ากับ 41.5 ท่าน ซึ่งทางมหาวิทยาลัยเลือกเป็นกลุ่มสถาบันราชภัฏ ค่าร้อยละของอาจารย์ประจำสถาบันที่มีตำแหน่งทางวิชาการ ที่กำหนดให้เป็นคะแนนเต็ม 5 เท่ากับร้อยละ 60 ขึ้นไป ดังนี้

เป้าหมาย ผลการดำเนินงาน คะแนนการประเมินตนเอง
4.00 บรรลุเป้าหมาย 4.81

เกณฑ์การประเมิน จำนวน
จำนวนอาจารย์ประจำทั้งหมด รวมทั้งที่ปฏิบัติงานจริงและลาศึกษาต่อ 41.5
จำนวนอาจารย์ประจำทั้งหมดที่ดำรงตำแหน่งอาจารย์ 17.5
จำนวนอาจารย์ประจำทั้งหมดที่ดำรงตำแหน่งผู้ช่วยศาสตราจารย์ 22
จำนวนอาจารย์ประจำทั้งหมดที่ดำรงตำแหน่งรองศาสตราจารย์ 2
จำนวนอาจารย์ประจำทั้งหมดที่ดำรงตำแหน่งศาสตราจารย์ 0
จำนวนอาจารย์ประจำทั้งหมดที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ 24
เอกสารหลักฐาน

ตัวบ่งชี้ที่ 1.4 : การบริการนักศึกษาระดับปริญญาตรี

ผลการดำเนินงาน
ในรอบปีการศึกษา 2562 คณะวิทยาการจัดการ ได้ดำเนินการบริการนักศึกษาระดับปริญญาตรี ตามเกณฑ์มาตรฐาน ดังนี้

เป้าหมาย ผลการดำเนินงาน คะแนนการประเมินตนเอง
5.00 5.00 5.00
เกณฑ์การประเมิน
1. จัดบริการให้คำปรึกษาทางวิชาการ และการใช้ชีวิตแก่นักศึกษาในคณะ เอกสารหลักฐาน
2. มีการให้ข้อมูลของหน่วยงานที่ให้บริการ กิจกรรมพิเศษนอกหลักสูตร แหล่งงานทั้งเต็มเวลาและนอกเวลาแก่นักศึกษา เอกสารหลักฐาน
3. จัดกิจกรรมเตรียมความพร้อมเพื่อการทำงานเมื่อสำเร็จการศึกษาแก่นักศึกษา เอกสารหลักฐาน
4. ประเมินคุณภาพของการจัดกิจกรรมและการจัดบริการในข้อ1-3 ทุกข้อไม่ต่ำกว่า 3.51 จากคะแนนเต็ม 5 เอกสารหลักฐาน
5. นำผลการประเมินจากข้อ 4 มาปรับปรุงพัฒนาการให้บริการและการให้ข้อมูล เพื่อส่งให้ผลการประเมินสูงขึ้นหรือเป็นไปตามความคาดหวังของนักศึกษา เอกสารหลักฐาน
6. ให้ข้อมูลและความรู้ที่เป็นประโยชน์ในการประกอบอาชีพแก่ศิษย์เก่า เอกสารหลักฐาน

ตัวบ่งชี้ที่ 1.5 : กิจกรรมนักศึกษาระดับปริญญาตรี


ผลการดำเนินงาน
ในรอบปีการศึกษา 2562 คณะวิทยาการจัดการ ได้ดำเนินกิจกรรมนักศึกษาระดับปริญญาตรี ตามเกณฑ์มาตรฐาน ดังนี้

เป้าหมาย ผลการดำเนินงาน คะแนนการประเมินตนเอง
5.00 5.00 5.00


เกณฑ์การประเมิน
1.จัดทำแผนการจัดกิจกรรมพัฒนานักศึกษาในภาพรวมของคณะโดยให้นักศึกษามีส่วนร่วมในการจัดทำแผนและการจัดกิจกรรม
เอกสารหลักฐาน
2.ในแผนการจัดกิจกรรมพัฒนานักศึกษาให้ดำเนินกิจกรรมที่ส่งเสริมคุณลักษณะบัณฑิตตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิแห่งชาติ 5 ประการ ให้ครบถ้วนและครอบคลุมมาตรฐานการศึกษา ประกอบด้วย
  • คุณธรรม จริยธรรม
  • ความรู้
  • ทักษะทางปัญญา
  • ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
  • ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
เอกสารหลักฐาน

บัณฑิตที่พึงประสงค์ :

TQF : คุณลักษณะตามที่ สกอ. กำหนด


คุณธรรม จริยธรรม [100%]
ทักษะทางความรู้ [100%]
ทักษะทางปัญญา [100%]
ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ [100%]
ทักษะการวิเคราะห์ การสื่อสารและ IT [100%]
3.จัดกิจกรรมให้ความรู้และทักษะการประกันคุณภาพการศึกษาแก่นักศึกษา  คำสั่งคณะวิทยาการจัดการที่ 233/2562 ลงวันที่ 8 มีนาคม เรื่องคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการสโมสรกิจการนักศึกษาภาคปกติ ของคณะวิทยาการจัดการ ประจำปีการศึกษา 2562

PDCA
Plan (วางแผน) คือ มีการประชุมของคณะกรรมการฯวางแผนจัดทำโครงการเพื่อเตรียมความพร้อมสำหรับการจัดกิจกรรมต่าง ๆ ทั้ง 3 กิจกรรม
Do (ปฏิบัติ) คือ จัดทำโครงการเพื่อเตรียมความพร้อมในการจัดกิจกรรมต่าง ๆ โดยมีการแต่งตั้งคณะกรรมการ ของแต่ละกิจกรรม แบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ เพื่อควบคุม ดูแล และดำเนินการ ในแต่ละกิจกรรม
Check (ตรวจสอบ) คือ มีการตรวจสอบการเตรียมความพร้อมของทุกกิจกรรม ว่าสามารถดำเนินการเป็นไปตามแผนและวัตถุประสงค์ที่วางไว้หรือไม่
Act (การดำเนินการให้เหมาะสม) คือ มีการนำข้อมูลของผลที่ได้จากการตรวจสอบไปปรับปรุงในรอบปีการศึกษาต่อไป

เอกสารหลักฐาน
4.ทุกกิจกรรมที่ดำเนินการ มีการประเมินผลความสำเร็จตามวัตถุประสงค์ของกิจกรรมและนำผลการประเมินมาปรับปรุงการดำเนินงานครั้งต่อไป

คณะวิทยาการจัดการ โดยฝ่ายกิจการนักศึกษารับผิดชอบในการจัดทำโครงการและประเมินผลความสำเร็จตามวัตถุประสงค์ของกิจกรรมโดยใช้แบบสอบถามให้ผู้เข้าร่วมโครงการแสดงความคิดเห็น และสรุปผลการดำเนินโครงการทั้ง 5 โครงการตามแผนงานดังต่อไปนี้
1. โครงการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม ครั้งที่ 7 กิจกรรม “ทอดกฐินสามัคคี สร้างศาลาปฏิบัติธรรม” ณ วัดโค้งสนามเป้า ต.ท่าช้าง อ.เมือง จ.จันทบุรี วันอาทิตย์ที่ 20 ตุลาคม 2562
2. โครงการส่งเสริมพัฒนาภาวะผู้นำนักศึกษาคณะวิทยาการจัดการสู่ความเป็นเลิศตามรอยศาสตร์พระราชาในยุค 4.0 กิจกรรม “การพัฒนาคุณภาพนักศึกษาตามกรอบมาตรฐาน TQF 5 ด้าน วันที่ 15 ธันวาคม 2562 ณ ห้องประชุมชั้น 2 อาคาร 37 คณะวิทยาการจัดการ
3. โครงการการทบทวนแผนพัฒนาและประกันคุณภาพนักศึกษา วันที่ 7 มีนาคม 2563 ณ ห้องประชุมชั้น 2 อาคาร 37 คณะวิทยาการจัดการ
4. โครงการกิจกรรมแข่งขันกีฬาเพื่อส่งเสริมสุขภาพ กีฬาสวนบ้านแก้วเกมส์ ครั้งที่ 46 วันที่ 10-14 กุมภาพันธ์ 2563 ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี
5. โครงการแข่งขันกีฬา เพื่อส่งเสริมสุขภาพชาว วจก. ตอน ดื่มนมชมฟุตบอลประเพณี คณะวิทยาการจัดการ ครั้งที่ 2 วันพุธที่ 8 มกราคม 2563 ณ สนามกีฬาศักดิ์เดชน์ มรรพ.

เอกสารหลักฐาน
5.ประเมินความสำเร็จตามวัตถุประสงค์ของแผนการจัดกิจกรรมพัฒนานักศึกษา

สรุปผลการประเมินโครงการพัฒนาคุณภาพนักศึกษา ตามกรอบมาตรฐาน TQF 5ด้าน จำนวน 5 โครงการ ได้คะแนนเฉลี่ย 4.64
1. โครงการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม ครั้งที่ 7 กิจกรรม “ทอดกฐินสามัคคี” 4.70
2. โครงการการพัฒนาคุณภาพนักศึกษาตามกรอบมาตรฐาน TQF 5 ด้าน 4.74
3. โครงการการทบทวนแผนพัฒนาและประกันคุณภาพ 4.59
4. โครงการกีฬาสวนบ้านแก้วเกมส์ 4.60
5. โครงการแข่งขันกีฬาดื่มนมชมฟุตบอล 4.57

เอกสารหลักฐาน 1.5
6.นำผลการประเมินไปปรับปรุงแผนหรือปรับปรุงการจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนานักศึกษา
เอกสารหลักฐาน

ตัวบ่งชี้ที่ 1.6 : การส่งเสริมสมรรถนะและทักษะการใช้ภาษาอังกฤษ


ผลการดำเนินงาน
ในรอบปีการศึกษา 2562 คณะคณะวิทยาการจัดการ ได้ดำเนินการบริการนักศึกษาระดับปริญญาตรี ตามเกณฑ์มาตรฐาน ดังนี้

เป้าหมาย ผลการดำเนินงาน คะแนนการประเมินตนเอง
5.00 5.00 5.00
เกณฑ์การประเมิน
1.มีระบบและกลไกในการส่งเสริม สนับสนุน ให้มีการพัฒนานักศึกษาด้านภาษาอังกฤษ
เอกสารหลักฐาน
2.มีการจัดทำแผนพัฒนานักศึกษาด้านภาษาอังกฤษ จากการมีส่วนร่วมของหลักสูตร โดยผ่านความเห็นชอบจากคณะกรรมการประจำคณะ
เอกสารหลักฐาน
3.มีการจัดสรรงบประมาณ และสิ่งสนับสนุน การดำเนินการตามแผนพัฒนานักศึกษาด้านภาษาอังกฤษ
เอกสารหลักฐาน
4.มีการประเมินความสำเร็จตามวัตถุประสงค์ของแผนฯ และมีการนำผลจากการประเมินมาปรับปรุงในปีถัดไป
เอกสารหลักฐาน
5.มีนักศึกษาระดับปริญญาตรีปีสุดท้ายที่ผ่านเกณฑ์การวัดผล CEFR (B1) ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 ของนักศึกษาชั้นปีสุดท้ายที่เข้าสอบ
เอกสารหลักฐาน

ตัวบ่งชี้ที่ 1.7 : การส่งเสริมสมรรถนะและทักษะด้านดิจิทัล


ผลการดำเนินงาน
ใในรอบปีการศึกษา 2562 คณะวิทยาการจัดการ ได้ดำเนินกิจกรรมนักศึกษาระดับปริญญาตรี ตามเกณฑ์มาตรฐาน ดังนี้

เป้าหมาย ผลการดำเนินงาน คะแนนการประเมินตนเอง
5.00 5.00 5.00
เกณฑ์การประเมิน
1.มีระบบและกลไกในการส่งเสริม สนับสนุน ให้มีการพัฒนานักศึกษาให้มีความสามารถด้านดิจิทัล
เอกสารหลักฐาน
2.มีการจัดทำแผนพัฒนานักศึกษาให้มีความสามารถด้านดิจิทัล จากการมีส่วนร่วมของหลักสูตร โดยผ่านความเห็นชอบจากคณะกรรมการประจำคณะ
เอกสารหลักฐาน
3.มีการจัดสรรงบประมาณ และสิ่งสนับสนุนการดำเนินการตามแผนพัฒนานักศึกษาให้มีความสามารถด้านดิจิทัล
เอกสารหลักฐาน
4.มีการประเมินความสำเร็จตามวัตถุประสงค์ของแผนฯ และมีการนำผลจากการประเมินมาปรับปรุงในปีถัดไป
เอกสารหลักฐาน
5.มีนักศึกษาระดับปริญญาตรีปีสุดท้ายที่ผ่านเกณฑ์ IC3 หรือเทียบเท่า หรือตามที่มหาวิทยาลัยกำหนด ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50
เอกสารหลักฐาน

ตัวบ่งชี้ที่ 1.8 : หลักสูตรที่นักศึกษามีส่วนร่วมในการสร้างนวัตกรรม


ผลการดำเนินงาน

ในปีการศึกษา 2562 คณะวิทยาการจัดการ ได้มีการวางแผนให้นักศึกษาแต่ละหลักสูตรทั้ง 8 หลักสูตร คือ 1. สาขาการจัดการ 2. สาขาการเงินการธนาคาร 3. สาขาบัญชี 4. สาขาการตลาด 5. สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ 6. สาขาทรัพยากรมนุษย์ 7. สาขาเศรษฐศาสตร์ และ 8. สาขาการท่องเที่ยว เป็นผู้ร่วมสร้างนวัตกรรมหรือดำเนินกิจกรรมที่เกิดประโยชน์ต่อสังคมส่วนรวม สามารถแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ของชุมชนได้

โดยการดำเนินงานทั้งหมดนักศึกษาเป็นผู้ร่วมวางแผน ดำเนินงาน และประเมินผลเอง โดยคณะวิทยาการจัดการ มีการจัดตั้งคณะกรรมการดำเนินการโครงการอบรมสัมมนาเพื่อพัฒนาคุณภาพนักศึกษาให้มีส่วนร่วมในการสร้างนวัตกรรม กิจกรรม “เจลใสไล่ยุง” ปี 2562 เป็นผู้ดูแลให้คำปรึกษาแก่นักศึกษา ในการจัดโครงการในครั้งนี้

การดำเนินกิจกรรมในครั้งนี้ จัดขึ้น ณ โรงเรียนวัดแขมหนู ตำบลตะกาดเง้า อำเภอท่าใหม่ จังหวัดจันทบุรี วันที่ 6 กันยายน 2562 โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจในการทำเจลใสไล่ยุง เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการเกิดความคิดสร้างสรรค์และใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ และเพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการนำความรู้ที่ได้รับเป็นแนวทางในการประกอบอาชีพเสริม

จากผลการประเมินโครงการโดยนักศึกษาพบว่า โครงการอบรม ทำเจลใสไล่ยุง เกิดประโยชน์มากที่สุด ร้อยละ 93.33 รองลงมาคือ การต้อนรับและการให้บริการ ร้อยละ 92 (1.8-1.1) (1.8-1.2) (1.8-1.3)

ดังนั้นในปีการศึกษา 2562 คณะวิทยาการจัดการ มีหลักสูตรที่นักศึกษามีส่วนร่วมในการสร้างนวัตกรรมเท่ากับ 8 หลักสูตร และหลักสูตรทั้งหมดในคณะเท่ากับ 8 หลักสูตร ดังนี้



เป้าหมาย ผลการดำเนินงาน คะแนนการประเมินตนเอง
5.00 5.00 5.00


รายชื่อหลักสูตร เป็นหลักสูตรที่นักศึกษามีส่วนร่วมในการสร้างนวัตกรรม
  • หลักสูตรบริหารธุรกิจ สาขาวิชาการจัดการ
  • หลักสูตรบริหารธุรกิจ สาขาวิชาการเงินการธนาคาร
  • หลักสูตรบริหารธุรกิจ สาขาวิชาการตลาด
  • หลักสูตรบริหารธุรกิจ สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
  • หลักสูตรบริหารธุรกิจ สาขาวิชาการบริหารทรัพยากรมนุษย์
  • หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการท่องเที่ยว
  • หลักสูตรเศรษฐศาสตบัณฑิต
  • หลักสูตรบัญชีบัณฑิต

  • เจลใสไล่ยุง
  • เจลใสไล่ยุง
  • เจลใสไล่ยุง
  • เจลใสไล่ยุง
  • เจลใสไล่ยุง
  • เจลใสไล่ยุง
  • เจลใสไล่ยุง
  • เจลใสไล่ยุง

. . . .

องค์ประกอบที่ 2 การวิจัย


SAR : : Self Assessment Report


องค์ประกอบที่ 2 การวิจัย


ตัวบ่งชี้ที่ 2.1 : ระบบและกลไกงานวิจัย งานสร้างสรรค์ หรือนวัตกรรม


ผลการดำเนินงาน
ในรอบปีการศึกษา 2562 คณะวิทยาการจัดการได้ดำเนินการการบริหารและพัฒนางานวิจัยหรือ งานสร้างสรรค์ โดยมีผลการดำเนินงานตามเกณฑ์มาตรฐาน ดังนี้

เป้าหมาย ผลการดำเนินงาน คะแนนการประเมินตนเอง
3.00 บรรลุเป้าหมาย 5.00
เกณฑ์การประเมิน
1.มีระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารงานวิจัยที่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ในการบริหารงานวิจัยและงานสร้างสรรค์
เอกสารหลักฐาน
2.สนับสนุนพันธกิจด้านการวิจัยหรืองานสร้างสรรค์อย่างน้อยในประเด็นต่อไปนี้
  • ห้องปฏิบัติการวิจัยหรืองานสร้างสรรค์หรือหน่วยวิจัยหรืองานสร้างสรรค์หรือศูนย์เครื่องมือ หรือศูนย์ให้คำปรึกษาและสนับสนุนการวิจัย
  • ห้องสมุดหรือแหล่งค้นคว้าข้อมูลสนับสนุนการวิจัยหรืองานสร้างสรรค์
  • เสิ่งอำนวยความสะดวกหรือการรักษาความปลอดภัยในการวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ เช่น ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ ระบบรักษาความปลอดภัยในห้องปฏิบัติการวิจัย
  • กิจกรรมวิชาการที่ส่งเสริมงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ เช่น การจัดประชุมวิชาการ การจัดแสดงงานสร้างสรรค์ การจัดให้มีศาสตราจารย์อาคันตุกะหรือศาสตราจารย์รับเชิญ (visiting professor)
เอกสารหลักฐาน
3.จัดสรรงบประมาณเพื่อเป็นทุนวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ และสนับสนุนการเผยแพร่ผลงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ในการประชุมวิชาการหรือการตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติหรือนานาชาติ
เอกสารหลักฐาน
4.มีการพัฒนาสมรรถนะอาจารย์และนักวิจัย มีการสร้างขวัญและกำลังใจตลอดจนยกย่องอาจารย์และนักวิจัยที่มีผลงานวิจัยและงานสร้างสรรค์ดีเด่น
เอกสารหลักฐาน
5.มีการดำเนินงานกับเครือข่ายความร่วมมือด้านวิจัยหรืองานสร้างสรรค์หรือนวัตกรรมระหว่างสถาบันอุดมศึกษา องค์กรภาครัฐหรือเอกชน ทั้งในประเทศหรือต่างประเทศ
เอกสารหลักฐาน
6.มีระบบและกลไกการนำผลงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์หรือนวัตกรรมไปใช้ประโยชน์ในการพัฒนาผู้เรียนหรือชุมชนและดำเนินการตามระบบที่กำหนด
เอกสารหลักฐาน
7.มีระบบและกลไกการคุ้มครองสิทธิ์ของงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ที่นําไปใช้ประโยชน์และดำเนินการตามระบบที่กำหนด
เอกสารหลักฐาน

ตัวบ่งชี้ที่ 2.2 : เงินสนับสนุนงานวิจัยและงานสร้างสรรค์


ผลการดำเนินงาน
ในปีการศึกษา 2562 คณะวิทยาการจัดการ เปิดสอนทั้งหมด 8 หลักสูตร แบ่งออกเป็นหลักสูตรระดับปริญญาตรี 8 หลักสูตร โดยทุกหลักสูตรมีผลรวมจำนวนเงินสนับสนุนงานวิจัย จากภายในและภายนอกเท่ากับ 295,000 บาท และผลรวมของจำนวนอาจารย์ประจำและนักวิจัยเท่ากับ 41.5 คน ดังนี้

กราฟแสดงปริมาณทุนวิจัยคณะวิทยาการจัดการ คณะวิทยาการจัดการ


จำนวนทุนวิจัยที่คณาจารย์คณะวิทยาการจัดการได้รับในแต่ละปี

อ้างอิง : หน่วยงานวิจัยมหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี



กราฟ : แสดงทุนวิจัยที่ได้รับในปีต่างๆ ของคณะวิทยาการจัดการ


รายละเอียด

รายละเอียด

FMS Research Found

295,000

- บาท -

[ Up date : ณ วันที่ 08-03-2020 ]

ข้อมูลทุนวิจัยของคณะวิทยาการจัดการ ประจำปี2562

Up date : ณ วันที่ 08-03-2020

ประเภท (ภายนอก+ภายใน) จำนวน (บาท)
บธ.บ. การจัดาร 0
บธ.บ. การตลาด 55,000
บธ.บ. การเงินการธนาคาร 0
บธ.บ. บริหารทรัพยากรมนุษย์ 55,000
บธ.บ. คอมพิวเตอร์ธุรกิจ 40,000
ศศ.บ. เศรษฐศาสตร์ 40000
ศศ.บ. การท่องเที่ยว 55,000
การบัญชี 50,000
. . . .


เป้าหมาย ผลการดำเนินงาน คะแนนการประเมินตนเอง
3.00 ไม่บรรลุเป้าหมาย 1.42
ชื่อหลักสูตร จำนวนเงินสนับสนุนงานวิจัยฯ จากภายในและภายนอก จำนวนอาจารย์
1. บริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการ 0 5
2. บริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการเงินการธนาคาร 0 5
3. บริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารทรัพยากรมนุษย์ 55,000 5
4. บริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ 40,000 5
5. บริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการตลาด 55,000 5
6. บัญชีบัณฑิต 50,000 5
7. ศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการท่องเที่ยว 55,000 5
8. ศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ธุรกิจ 40,000 5
ไม่ได้ประจำหลักสูตร 0 1.5
รวม 295,000 บาท 41.5
เอกสารหลักฐาน

ตัวบ่งชี้ที่ 2.3 : ผลงานทางวิชาการของอาจารย์ประจำและนักวิจัย


ผลการดำเนินงาน
ในปีการศึกษา 2562 คณะวิทยาการจัดการ เปิดสอนทั้งหมด 8 หลักสูตร แบ่งออกเป็นหลักสูตรระดับปริญญาตรี 8 โดยหลักสูตรที่มีผลงานทางวิชาการของอาจารย์ประจำและนักวิจัยมีผลรวมของค่าน้ำหนักระดับคุณภาพผลงานทางวิชาการเท่ากับ 7.8 และผลรวมของจำนวนอาจารย์ประจำและนักวิจัยเท่ากับ 41.5 คน ดังนี้

ชื่อหลักสูตร ค่าน้ำหนัก จำนวนอาจารย์
1. บริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการ 1.8 5
2. บริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการเงินการธนาคาร 0.6 5
3. บริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารทรัพยากรมนุษย์ 0.4 5
4. บริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ 1.8 5
5. บริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการตลาด 0 5
6. บัญชีบัณฑิต 1.2 5
7. ศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการท่องเที่ยว 1.2 5
8. ศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ธุรกิจ 0.8 5
ไม่ได้ประจำหลักสูตร 0 1.5
รวม 7.8 41.5
เอกสารหลักฐาน


ตารางสรุปผล ผลงานวิชาการของอาจารย์ประจำและนักวิจัย คณะวิทยาการจัดการ ประจำปี 2562 จำนวน 42 คน

ลำดับ ผู้วิจัย ชื่อผลงานวิจัยที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ ข้อมูลการตีพิมพ์เผยแพร่ ฐานงานวิจัย ผลรวมค่าน้ำหนัก
1 ผศ.นันทภัค บุรขจรกุล / สาขาการท่องเที่ยว ตำรา จิตวิทยาการบริการ ห้องสมุดประชาชนจังหวัดจันทบุรี ปี 2560 วารสารนานาชาติ/ตำรา 1
2 ผศ.ธงชัย ศรีเบญจโชติ / สาขาเศรษฐศาสตร์ธุรกิจ แนวทางเพื่อเพิ่มมูลค่าการท่องเที่ยวเชิงเกษตรของจังหวัดจันทบุรี วารสารบริหารธุรกิจ เศรษฐศาสตร์และการสื่อสาร ปีที่ 14 ฉบับที่ 2 (พฤษภาคม-สิงหาคม 2562) หน้า 134 TCI กลุ่ม 1 0.8
3 ผศ.วัชรินทร์ อรรคศรีวร / สาขาการบัญชี การพัฒนาเอกสารคู่มือการจัดทาบัญชีของกลุ่มวิสาหกิจชุมชน การผลิตประมง และเกษตรอินทรีย์ บนพื้นฐานการพัฒนาเศรษฐกิจฐานรากกรณีศึกษา กลุ่มวิสาหกิจชุมชนจังหวัดจันทบุรีและจังหวัดตราด วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี ปีที่ 8 (1) ประจำเดือนมกราคม-มิถุนายน 2562 หน้า 55 TCI กลุ่ม 2 0.6
4 ผศ.ฉวี สิงหาด / สาขาการบัญชี ความเสี่ยงด้านการลงทุนที่มีผลกระทบต่อประสิทธิภาพและศักยภาพธุรกิจ SME ในเขตเศรษฐกิจการค้าชายแดนภาคตะวันออกจังหวัดจันทบุรี วารสารวิจัยรำไพพรรณี ปีที่ 13 ฉบับที่ 3 กันยายน-ธันวาคม 2562 หน้า 120 TCI กลุ่ม 2 0.6
5 ผศ.ทัศนัย ขัตติยวงษ์ / สาขาการเงินการธนาคาร ความเสี่ยงด้านสภาพคล่องทางการเงินที่มีผลกระทบต่อประสิทธิภาพและศักยภาพธุรกิจ SME ในเขตเศรษฐกิจการค้าชายแดนภาคตะวันออกจังหวัดจันทบุรี วารสารวิจัยรำไพพรรณี ปีที่ 13 ฉบับที่ 3 กันยายน-ธันวาคม 2562 หน้า 130 TCI กลุ่ม 2 0.6
6 อาจารย์ ดร.ปัญญณัฐ ศิลาลาย/ สาขาการจัดการ การศึกษาเปรียบเทียบการบริหารจัดการประเพณีนมัสการรอยพระพุทธบาทพลวง ปี 2560 วารสารวิจัยรำไพพรรณี ปีที่ 13 ฉบับที่ 3 กันยายน-ธันวาคม 2562 หน้า 101 TCI กลุ่ม 2 0.6
7 อาจารย์ศักดิ์ดา อ่างวัฒนกิจ / สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ การพัฒนาศักยภาพภูมิปัญญาประมงอินทรีย์พื้นบ้านต่อยอดในเชิงพาณิชย์สู่การเชื่อมโยงกับการท่องเที่ยวโดยชุมชนจากการพึ่งพาตนเองในการผลิตอาหารทะเลที่มีคุณภาพปลอดภัยเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มนำไปสู่การแข่งขันเพื่อเตรียมความพร้อมการก้าวสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน การประชุมวิชาการและนำเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ ครั้งที่ 14 เรื่อง “วิถีนวัตกรรมเพื่อการพัฒนางานวิจัยสู่เศรษฐกิจชุมชนไทยให้ยั่งยืน” วันที่ 27-28 เมษายน 2562 หน้า 238 ประชุมวิชาการระดับชาติ 0.2
8 อาจารย์ชัยวิทย์ ถิระวณัฐพงศ์ / สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ แนวทางการพัฒนากลุ่มประมงอินทรีย์พื้นบ้านในการยกระดับผลผลิตอินทรีย์สู่การสร้างเครือข่ายการค้าเชิงพาณิชย์ในรูปแบบพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ การประชุมวิชาการและนำเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ ครั้งที่ 14 เรื่อง “วิถีนวัตกรรมเพื่อการพัฒนางานวิจัยสู่เศรษฐกิจชุมชนไทยให้ยั่งยืน” วันที่ 27-28 เมษายน 2562 หน้า 135 ประชุมวิชาการระดับชาติ 0.2
9 อาจารย์ชัยวิทย์ ถิระวณัฐพงศ์ / สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ การศึกษารูปแบบการนำระบบการวางแผนทรัพยากร เพื่อช่วยในการบริหารจัดการด้านโลจิสติกส์และห่วงโซ่อุปทาน สินค้าเกษตรอินทรีย์ กลุ่มวิสาหกิจชุมชน ในจังหวัดจันทบุรี และจังหวัดตราด การประชุมวิชาการและนำเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ ราชธานีวิชาการ ครั้งที่ 4 “การวิจัยเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน” วันที่ 31 พฤษภาคม 2562 หน้า 291 ประชุมวิชาการระดับชาติ 0.2
10 ผศ.ณรงค์ อนุพันธ์/ สาขาการจัดการ การสร้างต้นแบบห่วงโซ่อาหารของกลุ่มวิสาหกิจชุมชนประมงพื้นบ้าน เกษตรอินทรีย์ สู่การเชื่อมโยงธุรกิจการท่องเที่ยวชุมชน (ตลาดท่องเที่ยวชุมชน โรงแรม รีสอร์ท โฮมสเตย์) ในการสร้างมูลค่าเพิ่มเชิงพาณิชย์บนเศรษฐกิจฐานรากที่มั่นคงจังหวัดจันทบุรีและจังหวัดตราด การประชุมวิชาการและนำเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ ราชธานีวิชาการ ครั้งที่ 4 “การวิจัยเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน” วันที่ 31 พฤษภาคม 2562 หน้า 300 ประชุมวิชาการระดับชาติ 0.2
11 อาจารย์ศักดิ์ดา อ่างวัฒนกิจ / สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ การพัฒนากลยุทธ์และการเพิ่มโอกาสทางการตลาดของกลุ่มวิสาหกิจชุมชนประมงเกษตรอินทรีย์บนพื้นฐานการพัฒนาเศรษฐกิจฐานรากที่มั่นคงจังหวัดจันทบุรี และจังหวัดตราด การประชุมวิชาการและนำเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ ราชธานีวิชาการ ครั้งที่ 4 “การวิจัยเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน” วันที่ 31 พฤษภาคม 2562 หน้า 381 ประชุมวิชาการระดับชาติ 0.2
12 อาจารย์ต่อสันติ์ พิพัฒนสุทธิ์ / สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ ความปลอดภัยในการทำธุรกรรมออนไลน์ของนวัตกรรมผลิตภัณฑ์หนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ การประชุมวิชาการระดับชาติและนานาชาติ มหาวิทยาลัยศรีปทุม วิทยาเขตชลบุรี ประจำปี 2562 การพัฒนาและส่งเสริมเศรษฐกิจในเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก วันที่ 5 กรกฎาคม 2562 หน้า 128 ประชุมวิชาการระดับชาติ 0.2
13 ผศ.ณรงค์ อนุพันธ์/ สาขาการจัดการ การศึกษาห่วงโซ่คุณค่าประมงพื้นบ้านจันทบุรีและตราด เชื่อมโยงการสร้างเครือข่ายตลาดเชิงพาณิชย์เพื่อการแข่งขันบนพื้นฐานการพึ่งพาตนเอง การประชุมวิชาการและนำเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ ครั้งที่ 14 เรื่อง “วิถีนวัตกรรมเพื่อการพัฒนางานวิจัยสู่เศรษฐกิจชุมชนไทยให้ยั่งยืน” วันที่ 27-28 เมษายน 2562 หน้า 156 ประชุมวิชาการระดับชาติ 0.2
14 อาจารย์ ดร.รมิดา กาญจนะวงศ์ / สาขาการบริหารทรัพยากรมนุษย์ การพัฒนาผลการเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี โดยใช้รูปแบบการสอน 5B Model การประชุมวิชาการระดับชาติวิจัยรำไพพรรณี ครั้งที่ 13 “วิจัยเพื่อพัฒนาท้องถิ่นและจัดการสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน” วันที่ 19 ธันวาคม 2562 หน้า 51 ประชุมวิชาการระดับชาติ 0.2
15 อาจารย์สิทธิชัย ศรีเจริญประมง / สาขาการท่องเที่ยว การศึกษาผลการเรียนรู้ของนักศึกษาตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติจากการจัดการเรียนการสอนด้วยสุยโมเดล ของมหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี การประชุมวิชาการระดับชาติวิจัยรำไพพรรณี ครั้งที่ 13 “วิจัยเพื่อพัฒนาท้องถิ่นและจัดการสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน” วันที่ 19 ธันวาคม 2562 หน้า 1 ประชุมวิชาการระดับชาติ 0.2
16 อาจารย์เทียมจันทร์ ศรีถาน / สาขาการบริหารทรัพยากรมนุษย์ กลยุทธ์การเข้าถึงแหล่งเงินทุนของผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม ประเภทธุรกิจค้าปลีกในเขตกรุงเทพมหานคร การประชุมวิชาการและนำเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ ครั้งที่ 15 เรื่อง “บูรณาการวิจัยขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทยด้วยนวัตกรรม” วันที่ 7-8 ธันวาคม 2562 หน้า 158 ประชุมวิชาการระดับชาติ 0.2
เอกสารหลักฐาน

ตัวบ่งชี้ที่ 2.4 : งานวิจัย งานสร้างสรรค์ หรือนวัตกรรมที่นำไปใช้ประโยชน์ต่อชุมชน


ผลการดำเนินงาน
ในปีการศึกษา 2562 คณะวิทยาการจัดการมีจำนวนงานวิจัย งานสร้างสรรค์ หรือนวัตกรรมที่นำไปใช้ประโยชน์ต่อชุมชนทั้งหมดเท่ากับ 10 ชิ้นงาน และผลรวมของจำนวนงานวิจัย งานสร้างสรรค์ หรือนวัตกรรมทั้งหมดในปีที่ประเมิน ฯ เท่ากับ 10 ชิ้นงาน ดังนี้

เป้าหมาย ผลการดำเนินงาน คะแนนการประเมินตนเอง
3.00 บรรลุเป้าหมาย 4.02
ชื่องานวิจัย งานสร้างสรรค์ หรือนวัตกรรม รายชื่อผู้จัดทำงานวิจัยฯ เป็นงานวิจัยฯ ที่นำไปใช้ประโยชน์ต่อชุมชน
แนวทางการพัฒนาความรู้ด้านการจัดทำบัญชีของสหกรณ์โครงการบ้านมั่นคง จังหวัดจันทบุรี อาจารย์วิชิต เอียงอ่อน 1
การพัฒนาผลการเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฎรำไพพรรณี โดยใช้รูปแบบการสอน 5B Model อาจารย์ ดร. รมิดา กาญจนะวงศ์ 1
การศึกษาผลการเรียนรู้ของนักศึกษาตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติจากการจัดการเรียนการสอนด้วยสุยโมเดลของมหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี อาจารย์สิทธิชัย ศรีเจริญประมง 1
กลยุทธ์การเข้าถึงแหล่งเงินทุนของผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม ประเภทธุรกิจค้าปลีกในเขตกรุงเทพมหานคร อาจารย์เทียมจันทร์ ศรีถาน 1
ศักยภาพของผู้ประกอบการธุรกิจ SMEs ในเขตจังหวัดสระแก้วที่มีอิทธิพลต่อความสามารถในการแข่งขัน อาจารย์กฤตติยา สัตย์พานิช 1
การศึกษาเปรียบเทียบการบริหารจัดการประเพณีนมัสการรอยพระพุทธบาทพลวง ปี 2560 อาจารย์ปัญญณัฐ ศิลาลาย 1
ความปลอดภัยในการทำธุรกรรมออนไลน์ของนวัตกรรมผลิตภัณฑ์หนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ อาจารย์ต่อสันติ์ พิพัฒนสุทธิ์ 1
ความเสี่ยงด้านการลงทุนที่มีผลกระทบต่อประสิทธิภาพและศักยภาพธุรกิจ SME ในเขตเศรษฐกิจการค้าชายแดนภาคตะวันออกจังหวัดจันทบุรี ผู้ช่วยศาสตราจารย์ฉวี สิงหาด 1
ความเสี่ยงด้านสภาพคล่องทางการเงินที่มีผลกระทบต่อประสิทธิภาพและศักยภาพธุรกิจ SME ในเขตเศรษฐกิจการค้าชายแดนภาคตะวันออกจังหวัดจันทบุรี ผู้ช่วยศาสตราจารย์ทัศนัย ขัตติยวงษ์ 1
การวิเคราะห์ตลาดผลิตภัณฑ์แอลอีดีในชุมชน ผู้ช่วยศาสตราจารย์จิตติมา สิงหธรรม 1
รวม 10

องค์ประกอบที่ 3 การบริการวิชาการ


SAR : : Self Assessment Report


องค์ประกอบที่ 3 การบริการวิชาการ


ตัวบ่งชี้ที่ 3.1 : ระบบและกลไกการบริการวิชาการเพื่อพัฒนาท้องถิ่น ชุมชน สังคม


ผลการดำเนินงาน
ในรอบปีการศึกษา 2562 คณะวิทยาการจัดการได้ดำเนินงานด้านศิลปะ วัฒนธรรม และความเป็นไทยที่ส่งเสริมความภูมิใจในความเป็นไทย ภูมิปัญญาท้องถิ่นให้กับผู้เรียน ชุมชน สังคม และประเทศชาติ โดยมีผลการดำเนินงานตามเกณฑ์มาตรฐาน ดังนี้

เป้าหมาย ผลการดำเนินงาน คะแนนการประเมินตนเอง
5.00 บรรลุเป้าหมาย 5.00
เกณฑ์การประเมิน
1.มีส่วนร่วมกับสถาบันและชุมชนในการกำหนดพื้นที่เป้าหมายในการพัฒนาท้องถิ่นที่สอดคล้องกับบริบท ปัญหา และความต้องการของท้องถิ่น ชุมชน หรือสังคมตามจุดเน้น จุดเด่นของสถาบัน ตามศาสตร์พระราชาหรือตามแนวพระราชดำริมี
เอกสารหลักฐาน
2.จัดทำแผนบริการวิชาการเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น ชุมชน หรือสังคมตามจุดเน้น จุดเด่นของสถาบัน ตามศาสตร์พระราชา หรือตามแนวพระราชดำริและแผนการนำไปใช้ประโยชน์ ที่มีการกำหนดตัวบ่งชี้ความสำเร็จในระดับแผน
เอกสารหลักฐาน
3.ดำเนินการตามแผนการบริการทางวิชาการเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น ชุมชน หรือสังคมที่กำหนดไว้ตามข้อ2 โดยร่วมมือกับหน่วยงานภายในหรือภายนอกสถาบัน อย่างน้อย 1 โครงการ
เอกสารหลักฐาน
4.ประเมินความสำเร็จตามตัวบ่งชี้ของแผนและโครงการบริการวิชาการเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น ชุมชน หริอสังคมตามข้อ 2 และนำเสนอต่อกรรมการประจำคณะเพื่อพิจารณา
เอกสารหลักฐาน
5.นำผลการประเมินตามข้อ 4 ไปปรับปรุงแผนบริการวิชาการในปีต่อไป
เอกสารหลักฐาน

ตัวบ่งชี้ที่ 3.2 : จำนวนชุมชนเป้าหมายที่ได้รับการพัฒนาอย่างต่อเนื่องตามแผนเสริมสร้างความสัมพันธ์กับชุมชน


ผลการดำเนินงาน
ในรอบปีการศึกษา 2562 คณะวิทยาการจัดการได้ร่วมกับมหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณีและชุมชนในการกำหนดพื้นที่เป้าหมายในการพัฒนาท้องถิ่นที่สอดคล้องกับบริบท ปัญหาและความต้องการของท้องถิ่น ชุมชนหรือสังคม มีการสำรวจความต้องการของท้องถิ่น ชุมชน สังคมทั้งภาครัฐ ภาคเอกชนและหน่วยงานวิชาชีพ เพื่อประกอบการกำหนดทิศทางในการให้บริการวิชาการและจัดทำเป็นแผนเสริมสร้างความสัมพันธ์กับชุมชน พร้อมทั้งกำหนดไว้ในยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี

เป้าหมาย ผลการดำเนินงาน คะแนนการประเมินตนเอง
5.00 บรรลุเป้าหมาย 5.00
รายชื่อชุมชน เป็นชุมชนเป้าหมาย เป็นชุมชนที่พัฒนาอย่างต่อเนื่อง
ชุมชนเขตอำเภอเมือง จังหวัดจันทบุรี บริการวิชาการ 11 ครั้ง ต่อเนื่อง
เอกสารหลักฐาน
11
รวม 1 1

องค์ประกอบที่ 4 ศิลปวัฒนธรรมและความเป็นไทย


SAR : : Self Assessment Report


องค์ประกอบที่ 4 ด้านศิลปวัฒนธรรมและความเป็นไทย

  • 4.1 ระบบกลไกด้านศิลปวัฒนธรรมและความเป็นไทย

ผลการดำเนินงาน
ในรอบปีการศึกษา 2562 คณะวิทยาการจัดการได้ดำเนินงานด้านศิลปะ วัฒนธรรม และความเป็นไทยที่ส่งเสริมความภูมิใจในความเป็นไทย ภูมิปัญญาท้องถิ่นให้กับผู้เรียน ชุมชน สังคม และประเทศชาติ โดยมีผลการดำเนินงานตามเกณฑ์มาตรฐาน ดังนี้

เป้าหมาย ผลการดำเนินงาน คะแนนการประเมินตนเอง
5.00 บรรลุเป้าหมาย 5.00
เกณฑ์การประเมิน
1.กำหนดนโยบายและทิศทางการส่งเสริมศิลปวัฒนธรรมและความเป็นไทยเพื่อการพัฒนาต่อยอดและสร้างคุณค่าตามจุดเน้นของสถาบัน
เอกสารหลักฐาน
2.จัดทำแผนด้านศิลปวัฒนธรรมและความเป็นไทย และกำหนดตัวบ่งชี้วัดความสำเร็จตามวัตถุประสงค์ของแผน รวมทั้งจัดสรรงบประมาณเพื่อให้สามารถดำเนินการได้ตามแผน
เอกสารหลักฐาน
3.มีการส่งเสริม สนับสนุนการบูรณาการงานด้านศิลปวัฒนธรรมกับการเรียนการสอน หรือการวิจัย หรือการบริการวิชาการซึ่งนำไปสู่การสืบสานการสร้างความรู้ ความเข้าใจในศิลปวัฒนธรรม การปรับและประยุกต์ใช้ศิลปวัฒนธรรม
เอกสารหลักฐาน
4.มีการกำกับติดตามให้หน่วยงานมีการดำเนินงาน และประเมินความสำเร็จตามตัวบ่งชี้ของแผนด้านศิลปวัฒนธรรมและความเป็นไทย และรายงานผลการดำเนินงานต่อผู้บริหารคณะ
เอกสารหลักฐาน
5.นำผลการประเมินไปปรับปรุงแผนหรือกิจกรรมด้านศิลปวัฒนธรรมและความเป็นไท
เอกสารหลักฐาน

องค์ประกอบที่ 5 การบริหารจัดการ


SAR : : Self Assessment Report


องค์ประกอบที่ 5 การบริหารจัดการ


ตัวบ่งชี้ที่ 5.1 : การจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการกับการทำงาน


ผลการดำเนินงาน
ในรอบปีการศึกษา 2562 คณะวิทยาการจัดการ ได้ดำเนินการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการกับการทำงาน โดยมีผลการดำเนินงานตามเกณฑ์มาตรฐาน ดังนี้

เป้าหมาย ผลการดำเนินงาน คะแนนการประเมินตนเอง
5.00 บรรลุเป้าหมาย 5.00
เกณฑ์การประเมิน
1.มีระบบและกลไกให้หลักสูตรจัดทำแผนจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการกับการทำงาน
เอกสารหลักฐาน
2.มีการกำกับ ติดตามให้หลักสูตรดำเนินการตามแผนการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการกับการทำงานตามที่กำหนด
เอกสารหลักฐาน
3.มีการกำกับ ติดตามให้หลักสูตรประเมินความสำเร็จตามวัตถุประสงค์ของแผนที่กำหนด
เอกสารหลักฐาน
4.มีการนำผลไปปรับปรุงแผนจัดการหลักสูตรและการจัดการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง
เอกสารหลักฐาน
5.มีแนวปฏิบัติที่ดีเกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการกับการทำงาน
เอกสารหลักฐาน

ตัวบ่งชี้ที่ 5.2 : การบริหารของคณะเพื่อการกำกับติดตามผลลัพธ์ตามพันธกิจ กลุ่มสถาบันและเอกลักษณ์ของคณะ


ผลการดำเนินงาน
ในรอบปีการศึกษา 2562 คณะวิทยาการจัดการ ได้ดำเนินการบริหารของคณะเพื่อการกำกับติดตามผลลัพธ์ตามพันธกิจ กลุ่มสถาบันและเอกลักษณ์ของคณะ โดยมีผลการดำเนินงานตามเกณฑ์มาตรฐาน ดังนี้

เป้าหมาย ผลการดำเนินงาน คะแนนการประเมินตนเอง
5.00 บรรลุเป้าหมาย 5.00
เกณฑ์การประเมิน
1.พัฒนาแผนกลยุทธ์จากผลการวิเคราะห์ SWOT โดยเชื่อมโยงกับวิสัยทัศน์ของคณะและสอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของคณะ สถาบัน รวมทั้งสอดคล้องกับกลุ่มสถาบันและเอกลักษณ์ของคณะและและพัฒนาไปสู่แผนกลยุทธ์ทางการเงินและแผนปฏิบัติการประจําปีตามกรอบเวลาเพื่อให้บรรลุผลตามตัวบ่งชี้และเป้าหมายของแผนกลยุทธ์และเสนอผู้บริหารระดับสถาบันเพื่อพิจารณาอนุมัติ
เอกสารหลักฐาน
2.ดำเนินการวิเคราะห์ข้อมูลทางการเงินที่ประกอบไปด้วยต้นทุนต่อหน่วยในแต่ละหลักสูตร สัดส่วนค่าใช้จ่ายเพื่อพัฒนานักศึกษา อาจารย์ บุคลากร การจัดการเรียนการสอนอย่างต่อเนื่อง เพื่อวิเคราะห์ความคุ้มค่าของการบริหารหลักสูตร ประสิทธิภาพ ประสิทธิผลในการผลิตบัณฑิต และโอกาสในการแข่งขัน
เอกสารหลักฐาน
3.ดำเนินงานตามแผนบริหารความเสี่ยง ที่เป็นผลจากการวิเคราะห์และระบุปัจจัยเสี่ยงที่เกิดจากปัจจัยภายนอก หรือปัจจัยที่ไม่สามารถควบคุมได้ที่ส่งผลต่อการดำเนินงานตามพันธกิจของคณะและให้ระดับความเสี่ยงลดลงจากเดิมอย่างน้อย 1 เรื่อง
เอกสารหลักฐาน
4.บริหารงานด้วยหลักธรรมาภิบาลอย่างครบถ้วนทั้ง 10 ประการที่อธิบายการดำเนินงานอย่างชัดเจน
เอกสารหลักฐาน
5.ค้นหาแนวปฏิบัติที่ดีจากความรู้ทั้งที่มีอยู่ในตัวบุคคล ทักษะของผู้มีประสบการณ์ตรง และแหล่งเรียนรู้อื่น ๆ ตามประเด็นความรู้ อย่างน้อยครอบคลุมพันธกิจด้านการผลิตบัณฑิตและด้านการวิจัยจัดเก็บอย่างเป็นระบบโดยเผยแพร่ออกมาเป็นลายลักษณ์อักษรและนำมาปรับใช้ในการปฏิบัติงานจริง
เอกสารหลักฐาน
6.การกำกับติดตามผลการดำเนินงานตามแผนการบริหารและแผนพัฒนาบุคลากรสายวิชาการและสายสนับสนุน
เอกสารหลักฐาน
7. ดำเนินงานด้านการประกันคุณภาพการศึกษาภายในตามระบบและกลไกที่เหมาะสมและสอดคล้องกับพันธกิจและพัฒนาการของคณะที่ได้ปรับให้การดำเนินงานด้านการประกันคุณภาพเป็นส่วนหนึ่งของการบริหารงานคณะตามปกติที่ประกอบด้วย การควบคุมคุณภาพ การตรวจสอบคุณภาพ และการประเมินคุณภาพ
เอกสารหลักฐาน

ตัวบ่งชี้ที่ 5.3 : ระบบกำกับการประกันคุณภาพหลักสูตร


ผลการดำเนินงาน
ในรอบปีการศึกษา 2562 คณะวิทยาการจัดการ ได้ดำเนินการตามระบบกำกับการประกันคุณภาพหลักสูตร โดยมีผลการดำเนินงานเกณฑ์มาตรฐาน ดังนี้

เป้าหมาย ผลการดำเนินงาน คะแนนการประเมินตนเอง
5.00 บรรลุเป้าหมาย 5.00
เกณฑ์การประเมิน
1.มีระบบและกลไกในการกำกับการดำเนินการประกันคุณภาพหลักสูตรให้เป็นไปตามองค์ประกอบการประกันคุณภาพหลักสูตร
เอกสารหลักฐาน
2.มีคณะกรรมการกำกับ ติดตามการดำเนินงานให้เป็นไปตามระบบที่กำหนดในข้อ 1 และรายงานผลการติดตามให้กรรมการประจำคณะเพื่อพิจารณาทุกภาคการศึกษา
เอกสารหลักฐาน
3.มีการจัดสรรทรัพยากรเพื่อสนับสนุนการดำเนินงานของหลักสูตรให้เกิดผลตามองค์ประกอบการประกันคุณภาพหลักสูตร
เอกสารหลักฐาน
4.มีการประเมินคุณภาพหลักสูตรตามกำหนดเวลาทุกหลักสูตร และรายงานผลการประเมินให้กรรมการประจำคณะเพื่อพิจารณา
เอกสารหลักฐาน
5.นำผลการประเมินและข้อเสนอแนะจากกรรมการประจำคณะมาปรับปรุงหลักสูตรให้มีคุณภาพดีขึ้นอย่างต่อเนื่อง
เอกสารหลักฐาน
6.มีผลการประเมินคุณภาพทุกหลักสูตรผ่านองค์ประกอบที่ 1 การกำกับมาตรฐาน
เอกสารหลักฐาน

องค์ประกอบที่ 6 อัตลักษณ์ของบัณฑิต


SAR : : Self Assessment Report


องค์ประกอบที่ 6 อัตลักษณ์ของบัณฑิต

  • 6.1 การดำเนินการส่งเสริมและพัฒนาทักษะความคิดเชิงระบบ PDCA สอดคล้องกับบริบทหรืออัตลักษณ์ของแต่ละคณะ หลักสูตร

ผลการดำเนินงาน
ในปีการศึกษา 2562 คณะวิทยาการจัดการ ดำเนินการส่งเสริมและพัฒนาทักษะ ความคิดเชิงระบบ PDCA สอดคล้องกับบริบท หรืออัตลักษณ์ของแต่ละคณะ หลักสูตรจำนวน 1 โครงการ จากจำนวนโครงการของนักศึกษาทั้งหมด 1 โครงการ โดยมีการดำเนินโครงการดังนี้ เริ่มกระบวนการตั้งแต่การวางแผนการดำเนินงานในรอบปีการศึกษา 2562 ลงมือปฏิบัติจัดโครงการจนลุล่วงตามวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้ในโครงการ เมื่อมีการดำเนินการเสร็จสิ้นแล้วก็มีการตรวจสอบและติดตามผลการดำเนินงานว่าเป็นอย่างไรเพื่อที่จะนำผลนั้นมาพัฒนาปรับปรุงในรอบปีการศึกษาต่อไป ซึ่งมหาวิทยาลัยได้กำหนดเกณฑ์การประเมินให้คะแนนเต็ม 5 มีค่าเท่ากับร้อยละ 80 ขึ้นไป ดังนั้น นักศึกษาคณะวิทยาการจัดการได้ดำเนินการการบริหารงานคุณภาพจนครบกระบวนการ (PDCA) จำนวน 1 โครงการ คิดเป็นร้อยละ 100 จึงได้คะแนน 6.25

เป้าหมาย ผลการดำเนินงาน คะแนนการประเมินตนเอง
5.00 บรรลุเป้าหมาย 5.00

ข้อมูลพื้นฐาน จำนวน
จำนวนโครงการที่นักศึกษาดำเนินการบริหารงานคุณภาพจนครบกระบวนการ (PDCA)เอกสารหลักฐาน
1
จำนวนโครงการของนักศึกษาทั้งหมดเอกสารหลักฐาน
1

ชื่อโครงการ ดำเนินการตาม PDCA
โครงการ ส่งเสริมพัฒนาภาวะผู้นำนักศึกษา คณะวิทยาการจัดการสู่ความเป็นเลิศตามรอยศาสตร์พระราชาในยุค 4.0” ในกิจกรรม “การทบทวนแผนพัฒนาและประกันคุณภาพนักศึกษา” วันที่ 7 มีนาคม 2563 ณ ห้องประชุมชั้น 2 อาคาร 37 คณะวิทยาการจัดการ 1
เอกสารหลักฐาน